สงครามในพม่า No Further a Mystery

"ผมไม่ไว้ใจใครอีกแล้ว" การคุกคามออนไลน์ส่งผลกับนักวิ่งมาราธอนระดับโลกเช่นไร ?

ความพ่ายแพ้ที่เมียวดีครั้งนี้ส่งผลต่อรัฐบาลทหารเช่นไร

“ซึ่งผมมองว่ามันน่าจะมีการกำหนดรัศมีเขตห้ามบินของทหารพม่า เพื่อความปลอดภัยของพลเรือน ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามในครั้งนี้ ซึ่งมีทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา คนพิการ คนไข้คนป่วย ต้องมาเจอกับความสูญเสียนี้ด้วย ที่ผ่านมา ก็เคยเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของทหารพม่าบินเลยเข้ามาในเขตน่านฟ้าของประเทศไทยในสมัยรัฐบาลประยุทธ์ ซึ่งก็มีการแก้ตัวกันขุ่นๆ ว่าไม่รู้ ซึ่งตนมองว่านี่เป็นการแก้ตัวแทนให้ทางทหารพม่ามากกว่า โดยที่พม่าไม่ได้ออกมาพูดแม้แต่คำเดียว แทนที่จะออกมาปกป้องอธิปไตย แต่กลายมาเป็นการอธิบายแทนทหารพม่า โดยที่ทางพม่าไม่ได้ออกมาตอบโต้อะไรสักอย่าง ดังนั้น ผมอยากเสนอให้ทางอาเซียน และประชาคมโลก เข้ามาดำเนินการกดดัน จัดการปัญหาสงครามในพม่าไปเลย โดยเฉพาะเข้าไปจัดการปัญหาเรื่องของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า อยากให้เข้าไปกดดัน หรือนำกองกำลังของนานาชาติเข้าไปควบคุมเลย”

จีนพร้อมสำหรับการปกครองแบบ “สหภาพพม่า”

ขณะนี้ ทหารในกองทัพเมียนมาจำนวนหลายร้อยนายที่ปกป้องเมืองชายแดน จ.เมียวดี รัฐกะเหรี่ยง ยอมจำนนกับกลุ่มต่อต้านแล้ว หลังถูกกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงซึ่งเป็นพันธมิตรกับกองกำลังอื่น ๆ ที่ต่อต้านรัฐประหารเข้าโจมตีอย่างหนักเป็นเวลาหลายสัปดาห์ ทั้งนี้ เมียวดีคือเส้นทางการค้าทางบกที่สำคัญของเมียนมาและไทย

'มาบตาพุด แทงค์' แถลงกำลังสอบสาเหตุเพลิงไหม้ พร้อมรับผิดชอบผู้บาดเจ็บ-เสียชีวิตทั้งหมด

คำบรรยายภาพ, จาก อ.แม่สอด จ.ตาก ประชาชนในพม่า มองเห็นเปลวเพลิงและควันพวยพุ่งขึ้นมาจากฝั่งเมียวดี หลังกองทัพเมียนมาโจมตีทางอากาศในพื้นที่ของเคเอ็นยู

ทางฝ่ายทหารไทย ฝ่ายปกครอง เข้าไปกำกับดูแล รวมทั้งเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลแม่กุ และอสม.

จนรัฐบาลจีนต้องออกมาเรียกร้องให้คณะรัฐประหารรับประกันความปลอดภัยในชีวิตและคุ้มครองทรัพย์สินของชาวจีนในพม่า และเอกอัครราชทูตจีนประจำพม่ากล่าวว่า "สิ่งที่เกิดขึ้นในพม่าวันนี้ มิใช่สิ่งที่จีนอยากจะเห็น"

ความเดือดร้อนของชาวบ้านที่ต้องหนีภัยสงครามครั้งนี้ นอกจากสิ่งที่เห็นจากภาพว่าต้องมาอยู่อาศัยและใช้ชีวิตอย่างยากลำบากแล้ว ยังพบว่ากลุ่มผู้เปราะบางอย่างผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวก็ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านกองทัพเมียนมาชี้ให้เห็นว่าเมืองหลวงแห่งใหม่ซึ่งออกแบบมาเพื่อรองรับภัยคุกคามทุกรูปแบบเช่นนี้ ยังมีการก่อสร้างบังเกอร์หรือป้อมปราการใต้ดินรวมถึงหลุมหลบภัยต่าง ๆ จึงเป็นเรื่องที่ต้องจับตามองกันต่อไปว่าพลเอกอาวุโสมิน อ่อง หล่าย หรือผู้นำทหารคนอื่น ๆ จะเลือกอำนวยการรบจากป้อมปราการใต้ดินหรือไม่ หากทางฝ่ายต่อต้านรุกหนักมากยิ่งขึ้น

ล่าสุด มีรายงานข่าวว่าทางไทยอนุญาตตามคำขอของรัฐบาลเมียนมา และเที่ยวบินแรกจะเดินทางมายังสนามบินแม่สอด คืนวันนี้

     การควบคุมดินแดนร่วมกันระหว่างสภาบริหารแห่งรัฐและองค์กรติดอาวุธชาติพันธุ์ในข้อตกลงหยุดยิง

สร้างบัญชี เข้าสู่ระบบ เครื่องมือส่วนตัว สร้างบัญชี

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *